sluse.html


โครงสร้าง/ความเชื่อ/มิติ ของการเกษตรยั่งยืน

เป้าหมาย เพื่อเพิ่มคุณค่าของมนุษย์ โดยการปรับปรุงคุณภาพชีวิต ด้านต่าง ๆ
พัฒนาด้านเศรษฐกิจ
มีหลักประกันด้านอาหาร
พัฒนาบุคคล/การให้อำนาจ(ต่อรอง)
รักษาสภาพแวดล้อมที่ปลอดภัย สะอาด สมดุล มีผลผลิตและทดแทนได้

วิธีการเริ่มต้น
เน้นการปฏิบัติ มีประสบการณ์ มีส่วนร่วม

วิธีเริ่มอย่างเป็นระบบ
วิธีมององค์รวมและความเชื่อมโยงของระบบ
การเกษตรผสมผสาน
สภาพพื้นที่เฉพาะ
ระบบที่ไม่รั่วไหล

ข้อคำนึง

การวิวัฒนาการอย่างต่อเนื่องแบบค่อยเป็นค่อยไป
ความไม่แน่นอน
การเปลี่ยนแปลง

สภาพเศรษฐกิจที่มั่นคง
ระบบ
การปฏิบัติ
ตอบสนองต่อเรื่องการแบ่งเพศ

เทคโนโลยีที่เหมาะสมและปฏิบัติได้กับพื้นที่เฉพาะแต่ละแห่ง

สอดคล้องและเกื้อหนุนนิเวศสมดุล
เกษตรกรรมเกื้อหนุนนิเวศและสิ่งแวดล้อม
การแปรเปลี่ยนของความสัมพันธ์ระหว่างมนุษย์กับสิ่งแวดล้อม
ปรับปรุงมาตรฐานความเป็นอยู่ของเกษตรกรโดยปราศจากผลกระทบด้านลบต่อสิ่งแวดล้อม

เหมาะกับวัฒนธรรม
ความละเอียดอ่อนหรือความอ่อนไหวทางด้านวัฒนธรรม
ระบบการหาเอกสารประกอบ อายุการใช้งาน การส่งเสริม และการใช้ภูมิปัญญา

มีทรัพยากรเป็นพื้นฐาน
การจัดการทรัพยากรบนพื้นฐานชุมชน
การควบคุมทรัพยากร
การเพิ่มพูนและป้องกันสิ่งที่ยังมีและเหลืออยู่
ใช้เทคนิคจากภูมิปัญญา

ความเสมอภาคทางสังคม
ความถูกต้องเที่ยงธรรมและความเป็นมนุษย์
เพิ่มพูนการมีส่วนร่วมและความกลมกลืนกับชุมชน
วิธีการมีสังคมยอมรับและปฏิบัติได้จริง
ความเสมอภาค
เกณฑ์เพื่อกำหนดรูปแบบวนเกษตรที่พึงประสงค์

การให้ผลผลิตจากพื้นที่ (productivity: supply)
ประโยชน์จากผลผลิตเพื่อการยังชีพและเพื่อจำหน่าย (consumer: demand)
เกษตรกรยอมรับไปปฏิบัติ (adoptibilty of farmer)
สภาพแวดล้อม/iะบบนิเวศมั่นคง (environmental friendly, sustainablity)


การวิจัยเพื่อพัฒนาระบบวนเกษตร
ทดลองหรือทดสอบในสถานีวิจัย (experimental research)
ทดลองในพื้นที่ของเกษตรกร (on-farm research)
GO TO 307421
GO TO HOME