home
Course Description| Course Objectives| Topics| Learning/Teaching Methods| Instructional Materials|
Assessment| Grading| Appointment | Readings | Course Schedule|

ภาคปลาย ปีการศึกษา 2547-2548


1. คณะ ศึกษาศาสตร์ ภาควิชา การศึกษา

2. รหัสวิชา 159533 จำนวน 2 หน่วยกิต 2(1-2)

3. ชื่อวิชา
(ไทย) การพัฒนาบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอนวิทยาศาสตร์
(อังกฤษ)Courseware Development for Science Instruction
4. เนื้อหารายวิชา (course description)
ภาษาไทย: ความหมายและองค์ประกอบพื้นฐานในการพัฒนาบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน
ภาษาอังกฤษ: Meaning and basic component in developing computer assisted instruction courseware, courseware design and development in computer assisted science instruction.
5. วัตถุประสงค์ของวิชา
เมื่อนิสิตผ่านการเรียนวิชานี้แล้ว นิสิตควรจะเรียนรู้ในเรื่องต่อไปนี้:
5.1 ความสำคัญของคอมพิวเตอร์ช่วยสอนวิทยาศาสตร์
5.2 การสร้างและพัฒนาบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอนวิทยาศาสตร์
5.3 การออกแบบบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอนวิทยาศาสตร์
5.4 ทฤษฎีการเรียนรู้เพื่อการเรียนการสอนวิทยาศาสตร์
5.5 กลยุทธการใช้คอมพิวเตอร์ช่วยสอนวิทยาศาสตร์
5.6 การประเมินบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอนวิทยาศาสตร์
5.7 แนวโน้มการใช้คอมพิวเตอร์ช่วยสอนวิทยาศาสตร์
6. หัวข้อวิชา (course outline)
6.1 ความสำคัญของคอมพิวเตอร์ช่วยสอนวิทยาศาสตร์
ความหมายของคอมพิวเตอร์ช่วยสอนวิทยาศาสตร์
ประเภทของคอมพิวเตอร์ช่วยสอนวิทยาศาสตร์
บทบาทของคอมพิวเตอร์ช่วยสอนวิทยาศาสตร์
6.2 การออกแบบบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอนวิทยาศาสตร์
รูปแบบการจัดการสารสนเทศ
รูปแบบการมีปฏิสัมพันธ์ในบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอนวิทยาศาสตร์
การออกแบบหน้าจอบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอนวิทยาศาสตร์
6.3 การสร้างและพัฒนาบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอนวิทยาศาสตร์
การเขียนสคริปต์และกรอบบทเรียน
การใช้องค์ประกอบมัลติมีเดียในบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอนวิทยาศาสตร์
การใช้โปรแกรมสร้างบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอนวิทยาศาสตร์
6.4 ทฤษฎีการเรียนรู้เพื่อการเรียนการสอนวิทยาศาสตร์
ทัศนะการเรียนรู้
การเรียนรู้ในทัศนะเดิม
การเรียนรู้ในทัศนะใหม่
6.5 กลยุทธการใช้คอมพิวเตอร์ช่วยสอนวิทยาศาสตร์
การเป็นผู้ใช้บทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอนวิทยาศาสตร์ (user)
การเป็นผู้สร้างบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอนวิทยาศาสตร์ (producer)
6.6 การประเมินบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอนวิทยาศาสตร์
วิธีประเมินประสิทธิภาพบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอนวิทยาศาสตร์
วิธีประเมินคุณภาพบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอนวิทยาศาสตร์
6.7 แนวโน้มการใช้คอมพิวเตอร์ช่วยสอนวิทยาศาสตร์
รูปแบบของการพัฒนาบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอนวิทยาศาสตร์
รูปแบบของระบบในการใช้บทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอนวิทยาศาสตร์
7. วิธีเรียน-วิธีสอน
ผู้สอน : บรรยาย อภิปราย สาธิต ชี้แนะ ให้คำแนะนำ ตามแนวคิด constructionism
ผู้เรียน : ปฏิบัติการ ศึกษาค้นคว้าด้วยตนเอง อภิปราย สร้างบทเรียน เสนอผลงาน และประเมินบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน
8. อุปกรณ์สื่อการเรียนการสอน
เครื่องคอมพิวเตอร์ เครื่องฉายวีดิโอโปรเจ็คเตอร์ โปรแกรม Authorware โปรแกรม Paint Shop Pro โปรแรม ws_FTP และโปรแกรมอื่น ๆ ที่เกี่ยวข้อง
9.การวัดผลสัมฤทธิ์ในการเรียน
ผลงานการสร้างบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน
ร้อยละ 45
งานมอบหมาย
ร้อยละ 10
สอบ ร้อยละ 15
บันทึกอนุทินร้อยละ 15
การแสดงความคิดเห็นร้อยละ 15
10.การประเมินผลการเรียน

ร้อยละระดับคะแนน
90-100 % A
80-89 % B+
70-79 % B
60-69 % C+
50-59 % C
ต่ำกว่า 50 % I
11. วันเวลาการพบเพื่อปรึกษา
ผู้สอน: รองศาสตราจารย์ ดร.บุปผชาติ ทัฬหิกรณ์,Ph.D.(Science Education)
ตามวันเวลาที่ขอนัดหมาย หรือทุกวันที่นิสิตและอาจารย์สะดวก
ชั้น 3 สำนักบริการคอมพิวเตอร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
โทรศัพท์ 02 942-8200 ต่อ 2503 หรือ 2501 โทรสาร 02 562-0950 โทรมือถือ 01-815-7700
e-Mail btun@ku.ac.th
12. เอกสารอ่านประกอบ
12.1 บุปผชาติ ทัฬหิกรณ์. 2545. เอกสารคำสอนวิชา 159533 คอมพิวเตอร์ช่วยสอนวิทยาศาสตร์. ภาควิชาการศึกษา, คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์. กรุงเทพฯ
12.2 บุปผชาติ ทัฬหิกรณ์. 2539. “คอมพิวเตอร์ช่วยสอนกับอินเตอร์เน็ต”. วารสารสถาบันพัฒนาครูอาชีวศึกษา. 11(พฤษภาคม - สิงหาคม 2539) : 22-27.
12.3 บุปผชาติ ทัฬหิกรณ์. 2538. “หลักการเพื่อการเรียนรู้วิทยาศาสตร์”. วารสารครูวิทยาศาสตร์. 3:1 (มกราคม-มิถุนายน 2538) : 1-12.
12.4 บุปผชาติ ทัฬหิกรณ์. 2538. “มัลติมีเดียปฏิสัมพันธ์”. วารสาร สสวท. 90(กรกฎาคม - กันยายน 2538) :25-35.
12.5 บุปผชาติ ทัฬหิกรณ์. 2538. “พัฒนาการเรียนการสอนเคมีด้วย CAI”. เอกสารประกอบการประชุมเรื่อง เคมีพื้นฐานกับเคมีพัฒนาประเทศ 2-4 พฤษภาคม 2538 ห้องประชุม อาคารสถาบัน 3 จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. สมาคมเคมี. หน้า185-201
12.6 บุปผชาติ ทัฬหิกรณ์. 2535. “คอมพิวเตอร์ช่วยสอน”. น.6-13. คู่มือสื่อการสอน. กรุงเทพฯ : คณะกรรมการฝ่ายส่งเสริมการผลิตตำราและสื่อการสอน, มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์.
12.7 บุปผชาติ ทัฬหิกรณ์. 2531. “คอมพิวเตอร์กับการเรียนการสอนในโรงเรียน”. น. 1- 10 คอมพิวเตอร์เพื่อการศึกษา. ศูนย์เทคโนโลยีทางการศึกษา, กรมการศึกษานอกโรงเรียน. กรุงเทพฯ. : โรงพิมพ์การศาสนา
12.8 บุปผชาติ ทัฬหิกรณ์. 2529. “คอมพิวเตอร์กับการเรียนการสอนในโรงเรียน”. วารสารศึกษาศาสตร์ปริทัศน์. 3(กุมภาพันธ์ 2529) : 76-85.
12.9 วีระพล แสง-ชูโต. 2532. การเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ในการสอนซ่อมเสริมวิชาเคมีโดยใช้คอมพิวเตอร์ช่วยสอนกับการสอนปกติ. กรุงเทพฯ : วิทยานิพนธ์ปริญญาโท, มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์.
12.10 อมร สุขจำรัส. 2533. ผลการใช้คอมพิวเตอร์ช่วยสอนต่อผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาชีววิทยาเรื่องการย่อยอาหาร. กรุงเทพฯ : วิทยานิพนธ์ปริญญาโท, มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์.
12.11 มณฑล อนันตรศิริชัย. 2534. การใช้โปรแกรมไมโครคอมพิวเตอร์เพื่อแก้ไขข้อบกพร่องในการเรียนวิชาฟิสิกส์ เรื่อง กฏการเคลื่อนที่. กรุงเทพฯ : วิทยานิพนธ์ปริญญาโท, มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์.
12.12 ศักดิ์ สุวรรณฉาย. 2535. การเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนฟิสิกส์จากการเรียนแบบกลุ่มร่วมมือ และแบบกลุ่มแข่งขันของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 โดยใช้คอมพิวเตอร์ช่วยสอน. กรุงเทพฯ : วิทยานิพนธ์ปริญญาโท, มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์.
12.13 ประวิทย์ บึงสว่าง. 2537. การใช้คอมพิวเตอร์ช่วยสอนแบบจำลองสถานการณ์ในการวิเคราะห์และสรุปผลการทดลองเรื่องปฏิกิริยาไฟฟ้าเคมี. กรุงเทพฯ : วิทยานิพนธ์ปริญญาโท, มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์.
12.14 วิลาวรรณ์ ชาแท่น. 2537. ผลของการใช้บทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอนแบบทบทวนเรื่องกลไกมนุษย์ : หน่วยการย่อยอาหารที่มีต่อผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิทยาศาสตร์ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3. กรุงเทพฯ: วิทยานิพนธ์ปริญญาโท, มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์.
12.15 ธาริณี สกุลพานิช. 2537. ผลการสอนเสริมด้วยบทเรียนคอมพิวเตอร์ภาพการ์ตูนและหนังสือการ์ตูนที่มีต่อผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนเรื่อง “ป่าชายเลนของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 5”. กรุงเทพฯ : วิทยานิพนธ์ปริญญาโท, มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์.
12.16 พิมล กลิ่นขจร. 2538. ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนและความคงทนในการเรียนรู้ของนักเรียนจากการเรียนเสริมและทบทวนด้วยบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน วิชาเคมี ระหว่างการเรียนเป็นรายบุคคลและเป็นคู่แบบร่วมมือ. กรุงเทพฯ : วิทยานิพนธ์ปริญญาโท, มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์.
12.17 จีรพัฒน์ ชัยพร. 2539. ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนโดยการใช้บทเรียนแบบไฮเปอร์เท็กซ์วิชาฟิสิกส์ เรื่องปรากฏการณ์เสียง ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 โรงเรียนสตึก จังหวัดบุรีรัมย์. กรุงเทพฯ : วิทยานิพนธ์ปริญญาโท, มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์.
12.18 รัฐการ คุรุฐิติ. 2539. ผลของการใช้บทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอนที่มีต่อผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนซ่อมเสริม วิชาฟิสิกส์ ระหว่างการเรียนแบบเดี่ยวกับแบบจับคู่ร่วมมือของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4. กรุงเทพฯ: วิทยานิพนธ์ปริญญาโท, มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์.
12.19 วันเพ็ญ เขียนเอี่ยม. 2539. บทเรียนคอมพิวเตอร์ระบบไฮเปอร์มีเดียในการสอนวิชาฟิสิกส์ ชั้นมัธยมศึกษาตอนปลาย. กรุงเทพฯ : วิทยานิพนธ์ปริญญาโท , มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์.
12.20 ประเสริฐ เลิศชยันตี. 2540. คอมพิวเตอร์ช่วยสอนในการสอนวิชาวิทยาศาสตร์ช่างอุตสาหกรรม เรื่องการแยกแรงและการหาแรงลัพธ์. กรุงเทพฯ : วิทยานิพนธ์ปริญญาโท, มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์.
12.21 สมพร จันทมัตตุการ. 2540. คอมพิวเตอร์ช่วยสอนในการสอนวิชาเคมี เรื่อง “พันธะโคเวเลนต์” ของนักศึกษาสถาบันราชภัฏสุรินทร์. กรุงเทพฯ : วิทยานิพนธ์ปริญญาโท, มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์.
13. ตารางกิจกรรมที่เกี่ยวข้องกับการเรียน

สัปดาห์ที่
(วัน เดือน ปี)
บรรยายปฏิบัติการ
1
1 พ.ย.48
แผนการเรียนการสอน
การศึกษาและการเรียนรู้
ปฏิบัติการครั้งที่ 1
M@xLearn
Webcam/MSN
บันทึกอนุทินครั้งที่1
2
8 พ.ย. 48
ความสำคัญของคอมพิวเตอร์ช่วยสอนวิทยาศาสตร์
ความหมายของคอมพิวเตอร์ช่วยสอนวิทยาศาสตร์
ประเภทของคอมพิวเตอร์ช่วยสอนวิทยาศาสตร์
บทบาทของคอมพิวเตอร์ช่วยสอนวิทยาศาสตร์
ปฏิบัติการครั้งที่ 2
กำหนดหัวข้อเรื่องที่จะสร้าง
สร้างส่วนแนะนำเค้าโครง
Nontri และ Pirun Server
ws_FTP95
ส่งงานและบันทึกอนุทินครั้งที่2
3
15 พ.ย. 48
การออกแบบบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอนวิทยาศาสตร์
การจัดการสารสนเทศ
ปฏิบัติการครั้งที่ 3
สร้างเนื้อหาแบบเส้นตรง
สร้างภาพเคลื่อนไหวประกอบเนื้อหา
ส่งงานและบันทึกอนุทินครั้งที่3
4
22 พ.ย. 48
ปฏิสัมพันธ์ในบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอนวิทยาศาสตร์
ปฏิบัติการครั้งที่ 4
สร้างปฏิสัมพันธ์ในบทเรียน
ส่งงานและบันทึกอนุทินครั้งที่4
5
29 พ.ย. 48
การออกแบบหน้าจอบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอนวิทยาศาสตร์ ปฏิบัติการครั้งที่ 5
สร้างปฏิสัมพันธ์ในบทเรียน
ส่งงานและบันทึกอนุทินครั้งที่5
6
6 ธ.ค. 48
การสร้างและพัฒนาบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอนวิทยาศาสตร์
การเขียนสคริปต์และกรอบบทเรียน
ปฏิบัติการครั้งที่ 6
สร้างปฏิสัมพันธ์ในบทเรียน
ส่งงานและบันทึกอนุทินครั้งที่6
7
13 ธ.ค. 48
การใช้องค์ประกอบมัลติมีเดียในบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอนวิทยาศาสตร์
โปรแกรมสร้างบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน
ปฏิบัติการครั้งที่ 7
สร้างปฏิสัมพันธ์ในบทเรียน
ส่งงานและบันทึกอนุทินครั้งที่7
8
20 ธ.ค. 48
ทฤษฎีการเรียนรู้เพื่อการสอนและการเรียนรู้วิทยาศาสตร์
ทัศนะการเรียนรู้
การเรียนรู้ในทัศนะเดิม
การเรียนรู้ในทัศนะใหม่
ปฏิบัติการครั้งที่ 8
สร้างปฏิสัมพันธ์ในบทเรียน
ส่งงานและบันทึกอนุทินครั้งที่ 8
9
27 ธ.ค. 48
การประเมินบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอนวิทยาศาสตร์

การประเมินประสิทธิภาพบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอนวิทยาศาสตร์

ปฏิบัติการครั้งที่ 9
สร้างปฏิสัมพันธ์ในบทเรียน
ส่งงานและบันทึกอนุทินครั้งที่ 9
10
3 ม.ค. 49
การประเมินคุณภาพบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอนวิทยาศาสตร์ ปฏิบัติการครั้งที่ 10
ปรับแต่งบทเรียน
ส่งงานและบันทึกอนุทินครั้งที่ 10
11
10 ม.ค. 49
กลยุทธการใช้คอมพิวเตอร์ช่วยสอนวิทยาศาสตร์
การเป็นผู้ใช้บทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอนวิทยาศาสตร์
การเป็นผู้สร้างบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอนวิทยาศาสตร์
ปฏิบัติการครั้งที่ 11
ปรับแต่งบทเรียน
ส่งงานและบันทึกอนุทินครั้งที่ 11
12
17 ม.ค. 49
สอบกลางภาค
13
24 ม.ค. 49
แนวโน้มการใช้คอมพิวเตอร์ช่วยสอนวิทยาศาสตร์
รูปแบบของการพัฒนาบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอนวิทยาศาสตร์
รูปแบบของระบบในการใช้บทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอนวิทยาศาสตร์
ปฏิบัติการครั้งที่ 12
ปรับแต่งบทเรียน
ส่งงานและบันทึกอนุทินครั้งที่12
14
31 ม.ค. 49
หยุดงานวันเกษตรแห่งชาติ
15
7 ก.พ. 49
ประเมินโครงงานครั้งที่ 1 ปฏิบัติการครั้งที่ 13
ตกแต่งแก้ไขโครงงาน
ส่งงานและบันทึกอนุทินครั้งที่13
16
14 ก.พ. 49
ประเมินโครงงานครั้งที่ 2 ปฏิบัติการครั้งที่ 14
ตกแต่งแก้ไขโครงงาน
ส่งงานและบันทึกอนุทินครั้งที่ 14
16
21 ก.พ. 49
นำเสนอผลงานการสร้างบทเรียน ปฏิบัติการครั้งที่ 15
ตกแต่งแก้ไขโครงงาน
ส่งงาน (CD-ROM และ Web)และบันทึกอนุทินครั้งที่ 15