Organic Chemistry&Natural Products Chemistry Research Unit
Contact : ศูนย์ส่งเสริมการวิจัยและถ่ายทอดเทคโนโลยี
คณะศิลปศาสตร์และวิทยาศาสตร์
มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ กำแพงแสน อ. กำแพงแสน
จ. นครปฐม 73140 โทร : 0897012540 e-mail: faaswcp@ku.ac.th phutdhawong@gmail.com |
หน่วยวิจัยได้รับการสนับสนุนทุนวิจัยจากแหล่งทุนต่างๆ ดังต่อไปนี้
โครงการโครงการการสร้างกำลังคนเพื่อพัฒนาอุตสาหกรรม สกว ฝ่ายวิชาการภาคอุตสาหกรรม งบ 2552: Instrumental Development for Industrial Scale Isolation of Glycosides from Centella asiatica by Electrocoagulatio, 3 ล้านบาท
ชื่อโครงการ: การแปรรูปวัตถุดิบจากผลส้มโอด้วยวิธีทางเคมีเพื่อใช้ประโยชน์ทางด้านผลิตภัณฑ์อาหารและเภสัช, 0.75 ล้านบาท โครงการศูนย์ความเป็นเลิศทางวิชาการ ม.เกษตรศาสตร์ ปีงบประมาณ 2552
ชื่อโครงการ: ปฏิกิริยาดีลส์แอลเดอร์และปฏิกิริยาการเกิดเอสเทอร์โดยใช้ไมโครเวฟ 1 (Microwave-Assisted Diels-Alder Reaction and Esterification Reaction 1) รหัสโครงการ: MRG4780111, 0.48 ล้านบาท เครื่องทำปฏิกิริยาเคมีด้วยไมโครเวฟ
ชื่อโครงการ: การสังเคราะห์สารตัวเร่งปฏิกิริยาวัลคาไนซ์เซชั่นเพื่อใช้ในอุตสาหกรรมยางธรรมชาติ (Synthesis of Vulcanization Accelerators for Natural Rubber Industrial) รหัสโครงการ: RDG4750034, 0.5 ล้านบาท
ชื่อโครงการ: การสกัดแทนนินจากน้ำเสียของอุตสาหกรรมปาล์มโดยการจับก้อนด้วยไฟฟ้า (Extraction of Tanin from Waste Water of Palm Industrial by Electrocoagulation to be used as Antioxidant for Natural Rubber)
รหัสโครงการ: RDG4850071, 1.5 ล้านบาท ภาพบรรยากาศการไปดูงานโรงงานอุตสาหกรรมปาล์มชุมพร
ชื่อโครงการ: การประยุกต์การจับก้อนด้วยไฟฟ้าในการแยกองค์ประกอบทางเคมีที่ใช้เป็นยาหรือสารตั้งต้นในการสังเคราะห์ยาจากพืชบางชนิด (Application of Electrocoagulation in Isolating Chemical Constituents Used as Drugs or Starting Compounds for Synthesizing Drugs from Some Plants ) รหัสโครงการ: DBG4780011 ทุนเคมีทางยา (Medicinal Chemistry), 1.2 ล้านบาท
ชื่อโครงการ: ปฏิกิริยาดีลส์แอลเดอร์และปฏิกิริยาการเกิดเอสเทอร์โดยใช้ไมโครเวฟ 2 (Microwave-Assisted Diels-Alder Reaction and Esterification Reaction 2 ) รหัสโครงการ: ทุนเมธีวิจัย (ทุนรุ่นกลาง), 1.2 ล้านบาท
และโครงการ IPUS ของ สกว. สำหรับ นศ. ป.โท 1 ทุน เป็นจำนวนเงิน 0.2 ล้านบาท
นอกจากนี้ ศูนย์ฯวิจัยยังได้รับการสนับสนุนทุนวิจัยจากแหล่งอื่น เช่น สหกรณ์ชาวสวนลำไยภาคเหนือ ในการตรวจสอบปริมาณสารตกค้างเพื่อการส่งออก, ทุนจากสำนักงานคณะกรรมการอาหารและยา โครงการหลวง และศูนย์วิจัยพื้นที่สูง โดยการประสานงานของ รศ. อาคม เรื่องการสกัด THC ในกัญชาเพื่อปรับปรุงพันธ์กัญชง เป็นเงินจำนวนหนึ่ง และหน่วยวิจัย ฯ ยังมีทุนวิจัยที่กำลังรอการพิจารณาอีกบางส่วนเช่น ทุนจากโครงการวิจัยมุ่งเป้าของ สกว และ วช เป็นต้น
หน่วยวิจัยได้รับทุนสนับสนุนจากต่างประเทศ แหล่งทุน : International
Foundation for Science, Karlavägen 108, 5th floor, SE-115
26 วิธีการสมัคร : http://organic.mju.ac.th/ifs/ เอกสารการบอกให้ทุน : http://organic.mju.ac.th/ifs/ifs_grant.pdf
|
สมาชิกในหน่วยวิจัย
งานบริการวิชาการ
หน่วยวิจัยได้ให้ความช่วยเหลือภาคอุตสาหกรรมหลายส่วน และมีภาคธุรกิจที่สามารถใช้ผลงานวิจัยจากหน่วยฯ นำไปพัฒนาต่อยอดสำเร็จแล้วจำนวน 3 ราย คือ 1. อุตสาหกรรมน้ำมันส้ม ซึ่งตอนนี้กำลังทดลองทำฐานการผลิตที่ อำเภอฝาง จ. เชียงใหม่ Orange Oil QUALITY CERTIFICATION 2. การใช้เทคนิคการตกตะกอนด้วยไฟฟ้า เพื่อสกัดสารหวานจากหญ้าหวานบทความ เทคนิคการสกัดสารหวาน ซึ่งขณะนี้ ได้ทดลองทำฐานผลิตที่ ระยอง และได้ตลาดจากอุตสาหกรรมวิทยาศาสตร์การแพทย์ 3. การใช้สารหวานจากหญ้าหวาน เพื่อใช้ในอาหาร มุสลิม เพื่อการส่งออก และอยู่ในระหว่างการพัฒนา ซึ่ง Detail ทั้งหมด หน่วยวิจัยจะขออนุญาตผู้ประกอบการนำมาเผยแพร่บนเวปเพจนี้ ในลำดับต่อไป
Link ที่เกี่ยวข้อง
งานสอนและเอกสาร download ของปีการศึกษา 2549 Click here
งานสอนและเอกสาร download ของวิชา คม 352 หัวข้อพิเศษทางเคมีอินทรีย์ Click here
เอกสาร วท 101 ปี 2550 Click here
เอกสารการสอนนักศึกษา ป.โท สาขา Biotechnology
1. IR tutor (zip file) Click here
2. power point
2.1 NMR Click here
2.2 MS Click here
หนังสือแนะนำ