กดขี่

 

                   [กดขี่] ในภาษามือไทย  มักจะมีลักษณนามของกรรมซึ่งเป็นผู้ถูกกระทำรวมอยู่ด้วย

             โดยมีโครงสร้างวากยสัมพันธ์ดังนี้

 

                        [ [O Indo ] [S Inds ] [VSšCLo]  ] ; CLo = O

 

ตัวอย่างเช่น

“โจรกดขี่เขา”

“เขากดขี่แม่”

 

แต่ในกรณีที่ประธานผู้กระทำไม่ปรากฏ มีแต่กรรมซึ่งเป็นผู้ถูกกระทำรวมอยู่ด้วยกับคำกริยาซึ่ง

มีความหมายคล้ายประโยคการิตวาจก (ผู้ถูกกระทำเป็นประธานของประโยค) ในภาษาไทย 

โครงสร้างวากยสัมพันธ์ของภาษามือไทยเป็นดังนี้

 

[V Ž CLo ] ; CLo = O

 

ตัวอย่างเช่น

“ฉันถูกกดขี่”

“คุณถูกกดขี่”

“คุณทั้งสองคนถูกกดขี่”

“เขาถูกกดขี่”