แผนการสอน Course Syllabus

ภาคต้น ปีการศึกษา 2549

 

1. คณะวิทยาศาสตร์                            ภาควิชาสัตววิทยา

 

2. รหัสวิชา 423564                             ชื่อวิชา (ไทย)    ปรสิตโพรโทซัว

   จำนวน     3 (2-3) หน่วยกิต                   (อังกฤษ)    Parasitic Protozoa

 

3. เนื้อหารายวิชา

สัณฐานวิทยา ชีพจักร นิเวศวิทยา การจำแนกชนิด การเก็บรักษา การระบาด การควบคุม ป้องกัน และศึกษานอกสถานที่

4. จุดประสงค์ของวิชา

4.1 ให้นิสิตมีความรู้เกี่ยวกับลักษณะพื้นฐานของโพรโทซัว และวงชีวิต

4.2 ให้นิสิตทราบหลักการจำแนกชนิดโพรโทซัว

4.3 ให้นิสิตได้ทราบชีววิทยาและการระบาดวิทยาของโรค

4.4 ให้นิสิตได้ทราบอาการพยาธิวิทยา การรักษาและการปองกันควบคุมโรคปรสิต

4.5 ให้นิสิตมีความสามารถ และทักษะในการอ่าน ประเมิน ผล สังเคราะห์ และประยุกต์ใช้ข้อมูลข่าวสารทางปรสิตโพรโทซัว

5. หัวข้อวิชา

5.1 ภาคบรรยาย จำนวนชั่วโมง 30 ชั่วโมง ดังนี้

5.1.1 บทนำ (8 ชั่วโมง)

Introduction to parasitology

Cellular organization of parasitic protozoa

Classification of the parasitic protozoa

Intestinal amoeba of animals and human

Opportunistic amoebae

5.1.2 Parasitic Protozoa (20 ชั่วโมง): Giardiasis, Trichomonads, Toxoplasmosis, Sarcocystis, Isospora and Cyclospora, Cryptosporidiosis, Balantidium coli, Microsporidians, Animal Cilliata

5.1.3 การนำเสนองานของนิสิต (2 ชั่วโมง)

5.2 ภาคปฏิบัติการ จำนวนชั่วโมง 45 ชั่วโมง ดังนี้

5.2.1 Collection, Preservation and shipment of  fecal or tissue specimens

5.2.2 Macroscopic and microscopic examination of fecal or tissue specimens

5.2.3 Fixation, staining and mounting of fecal parasite specimens

5.2.4 Parasite recovery: Culture methods, Animal inoculation

5.2.5 Serological methods in diagnosis of Protozoal infection ( IFA, IHA, ELISA, etc)

5.2.6 Molecular methods in diagnosis of Protozoal infection ( RFLP, AFLP, Microsatellite markers, etc.)

6. วิธีการสอน

ประกอบด้วย 4 ส่วนใหญ่ๆ คือ

·       การบรรยาย (Lectures)

·       โสต-วิดีทัศน์ (Audio-visual aids)

·       การอภิปรายแลกเปลี่ยนความคิดเห็น (Discussions)

·     การศึกษาด้วยตนเอง (Self-studies) จากตำรา วารสาร และเอกสารสิ่งพิมพ์ สื่ออิเล็กทรอนิกส์

·       ปฏิบัติการตรวจโรคติดเชื้อที่เกิดจากโพรโทซัว

·       ศึกษานอกสถานที่

7. อุปกรณ์สื่อการสอน

ได้แก่ แผ่นใส/ เครื่องฉายข้ามศรีษะ ไวท์บอร์ด วิดีทัศน์ ซีดีรอม สไลด์ เอกสารประกอบคำบรรยาย การสืบค้นผ่านอินเทอร์เนต

8. การวัดผลสัมฤทธิ์ในการเรียน

รวม  # 100% ประเมินจาก

8.1 ความสนใจในการเรียน (10%)

8.2 ผลการสอบข้อเขียน 2 ครั้ง (60%)

8.3 การพัฒนาทักษะและการเรียนรู้ในภาคปฏิบัติการ(30%)

                                               

9. การประเมินผลการเรียน

เกณฑ์ที่ใช้ในการให้ระดับคะแนน (รวมคะแนนทุกส่วน)

                ตั้งแต่ 80 คะแนน ขึ้นไป    ดีเยี่ยม                                     ได้ระดับคะแนน A             หรือ 4.0

                  75-79 คะแนน                   ดีมาก                                      ได้ระดับคะแนน B+           หรือ 3.5

                  70-74 คะแนน                   ค่อนข้างดี                              ได้ระดับคะแนน B              หรือ 3.0

                  65-69 คะแนน                   พอใช้                                     ได้ระดับคะแนน C+           หรือ 2.5

                  60-64 คะแนน                   ค่อนข้างพอใช้                     ได้ระดับคะแนน C              หรือ 2.0

                  55-59 คะแนน                   ต้องปรับปรุง                        ได้ระดับคะแนน D+           หรือ 1.5

                  50-54 คะแนน                   ต้องปรับปรุงอีกมาก            ได้ระดับคะแนน D             หรือ 1.0

                ต่ำกว่า 50 คะแนน                                                               ได้ระดับคะแนน F              หรือ 0

 

 

10. การให้โอกาสนอกเวลาเรียนแก่นิสิตเข้าพบ และให้คำแนะนำ ในด้านการเรียน

นิสิตจะขอคำแนะนำได้ในวันจันทร์-พฤหัสบดี. เวลา11.00 -12.00 น. โทรศัพท์ 01-8077451

                                E-mail: ผู้ช่วยศาสตราจารย์วิน เชยชมศรี : fsciwcc@.ku.ac.th

                                                ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.จินดาวรรณ สิรันทวิเนติ : fscijws@.ku.ac.th

                                โฮมเพจรายวิชาที่ http://pirun.ku.ac.th/~fsciwcc

 

11. เอกสารอ่านประกอบ

Camp, Dresser, and McKee. "Summary of the Mt. Vernon, Ohio, Membrane Softening Pilot Plant." December 14, 1995.

Casemore, D.P., Garder, C.A., and O'Mahony, C. "Cryptosporidial infection, with special reference to nosocomial transmission of Cryptosporidium parvum: a review." Folia Parasitol, 1994; 41 (1): 17-21.

Cox F.EG. Kreier J.P. and Wakelin D.,1998.Parasitology In: Collier L., Balows A. and Sussman M.. Topley and Wilson's microbiology and microbial infection. Vol. 5, 9th ed., Arnold, Oxford university press, Inc., 701 p.

Doyle, P.S., Crabb, J., and Petersen, C. "Anti-Cryptosporidium parvum antibodies inhibit infectivity in vitro and in vivo." Infect Immun, 1993 Oct; 61 (10): 4079-84.

Flanigan, T.P. and Soave, R. "Cryptosporidiosis." Prog Clin Parasitol, 1993; 1-20.

Garcia L. and Bruckner D. 1997. Diagnostic medical parasitology, 3rd ed., ASM press, Washington D.C., 937 p.

Goodgame, R.W. "Understanding intestinal spore-forming protozoa: cryptosporidia, microsporidia, isospora, and cyclospora." Ann Intern Med, 1996 Feb 15; 124 (4): 429-41.

Heyworth, M.F. "Immunology of Giardia and Cryptosporidium infections." J Infect Dis, 1992 Sep; 166 (3): 465-72.

Jakubowski, W. "Giardia and Cryptosporidium: The Details." 1995 Safe Drinking Water Act Seminar, U.S. Environmental Protection Agency.

Johnson, D.W., Pieniazek, N.J., Griffin, D.W., Misener, L., and Rose, J.B. "Development of a PCR protocol for sensitive detection of Cryptosporidium oocysts in water samples." Appl Environ Microbiol, 1995 Nov; 61 (11): 3849-55.

Juranek, D.D. "Cryptosporidiosis: sources of infection and guidelines for prevention." Clin Infect Dis, 1995 Aug; 21 Suppl 1: S57-61.

Keusch, G.T., Hamer, D., Joe, A., Kelley, M., Griffiths, J., and Ward, H. "Cryptosporidia--who is at risk?" Schweiz Med Wochenschr, 1995 May 6; 125 (18): 899-908.

Korich, D.G., Mead, J.R., Madore, M.S., Sinclair, N.A., and Sterling, C.R. "Effects of ozone, chlorine dioxide, chlorine, and monochlorine on Cryptosporidium parvum oocyst viability." Appl Envion Microbiol, 1990 May; 56 (5): 1423-8.

Roberts LS, Janovy J Jr. 2000. Foundations of parasitology, 6th ed. Boston : The McGraw-Hill Companies, Inc. 670 p.

Wagner-Wiening, C., and Kimmig, P. "Detection of viable Cryptosporidium parvum oocysts by PCR." Appl Environ Microbiol, 1995 Dec; 61 (12): 4514-6.

 

12. ตารางกิจกรรมที่เกี่ยวข้องกับการเรียน

 

 

 

ตารางเรียนวิชา 423562 ชีววิทยาของเซลล์ (CELL BIOLOGY)

ภาคต้น ปีการศึกษา 2549

บรรยาย: วันพุธ 9.00 – 11.00 น. ห้อง SCL 612 อาคารปฏิบัติการวิทยาศาสตร์พื้นฐาน คณะวิทยาศาสตร์

สัปดาห์ที่

วัน เดือน ปี

หัวข้อบรรยาย-อภิปราย

ปฏิบัติการ**

หมายเหตุ

1-3

7 -21* มิ.ย. 49

Introduction to parasitology

 

 

 

Cellular organization of parasitic protozoa

 

 

 

Classification of the parasitic protozoa

 

 

 

Intestinal amoeba of animals and human

 

 

 

Opportunistic amoebae

 

 

4

28 มิ.ย. 49

Giardiasis

1, 2 , 3,

เตรียม ปฏิบัติการ 4, 5, 6

 

5

5 ก.ค. 49

Trichomonads

 

6

12 ก.ค. 49

Toxoplasmosis

 

7

19 ก.ค. 49

Sarcocystis

 

8

26-28 ก.ค. 49

วันพระราชทานปริญญาบัตร

 

 

9

- - 4 ส.ค. 49

วันสอบกลางภาค

 

 

10

9 ส.ค. 49

Isospora and Cyclospora

4, 5, 6

 

 

11

16 ส.ค. 49

Cryptosporidiosis

 

12

23 ส.ค. 49

Balantidium coli

 

13

30 ส.ค. 49

Microsporidians

 

14

6 ก.ย. 49

Animal Cilliata

 

15

13 ก.ย. 49

Student Seminar

 

 

16

20 ก.ย. 49

Student Seminar

 

 

ปฏิบัติการ: วันศุกร์ 13.00 – 16.00 น. ห้องปฏิบัติการภาควิชาสัตววิทยา