แผนการสอน Course Syllabus

ภาคต้น ปีการศึกษา 2549

 

1. คณะวิทยาศาสตร์                                                            ภาควิชาสัตววิทยา

2. รหัสวิชา 424596                                                             ชื่อวิชา เรื่องเฉพาะทางชีววิทยา “นิเวศวิทยาโมเลกุล”

จำนวน 3 (3-0) หน่วยกิต                                                  Selected Topics in Biology: Molecular Ecology

 

3. เนื้อหารายวิชา (course description)

    กระบวนการทางนิเวศวิทยาโมเลกุลของประชากรธรรมชาติของชนิดพืชและสัตว์  วิธีการเชิงโมเลกุลในนิเวศวิทยาประชากร นิเวศวิทยาเชิงพฤติกรรม และอนุรักษ์  การวิเคราะห์ข้อมูลโมเลกุลหัวข้อปัจจุบันทางนิเวศวิทยาโมเลกุล

Molecular ecological processes in natural populations of plant and animal species.  Molecular methods in population ecology, behavioural ecology and species conservation.  Analysis of molecular data.  Recent topics in molecular ecology.

 

4. วัตถุประสงค์ของวิชา

                4.1 ให้นิสิตมีความรู้เกี่ยวกับนิเวศวิทยาโมเลกุล อันทำให้เกิดความเข้าใจเรื่องทางวิทยาศาสตร์ชีวภาพมากยิ่งขึ้น

                4.2 ให้นิสิตได้เรียนรู้ความจริง หลักการ หลักและเทคโนโลยีทางโมเลกุลที่เกี่ยวข้องกับนิเวศวิทยา

                4.3 ให้นิสิตได้เข้าใจถึงการประยุกต์ทางนิเวศวิทยาโมเลกุลที่มีในปัจจุบัน

                4.4 ต้องการให้นิสิตมีความสามารถ และทักษะการอ่าน ประเมินผล สังเคราะห์ และประยุกต์ใช้ข้อ-มูลเชิงวิทยาศาสตร์ที่ใหม่ทางนิเวศวิทยาโมเลกุล

 

5. หัวข้อวิชา (course outline)

จำนวนชั่วโมง 45 ชั่วโมง (30 คาบ (period) เมื่อ 1 period เท่ากับ 1.5 ชั่วโมง) ประกอบด้วยหัวข้อต่างๆ ดังนี้

บทนำนิเวศวิทยาโมเลกุล

เทคนิคเชิงโมเลกุลในการวิจัยทางนิเวศวิทยา

การใช้ข้อมูลนิเวศวิทยาโมเลกุลซึ่งเกี่ยวข้องกับอันตรกิริยาของสิ่งมีชีวิตกับสิ่งแวดล้อม

การประยุกต์ใช้วิธีการเชิงโมเลกุลในนิเวศวิทยาประชากร

การวิเคราะห์และเข้าใจนิเวศวิทยาเชิงพฤติกรรมในระดับโมเลกุล

การใช้นิเวศวิทยาโมเลกุลในการอนุรักษ์สปีชีส์

การอ่านและอภิปรายเอกสารข้อมูลเชิงวิทยาศาสตร์ที่ใหม่ ในนิเวศวิทยาโมเลกุล (12 ชั่วโมง)

 

6. วิธีการสอน และระบบการสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นศูนย์กลาง

                ได้แก่ การบรรยาย อภิปราย การศึกษาค้นคว้าด้วยตนเอง/กลุ่ม จากตำรา วารสาร เอกสารสิ่งพิมพ์ WWW ในอินเทอร์เน็ต (internet) และจากวีดิทัศน์ (video) การรายงานหน้าชั้น การเรียนการสอนแบบ web-base และการเรียนการสอนโดยใช้ระบบสนับสนุนการเรียนการสอนผ่านเว็บของมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์หรือ M@xLearn (http://course.ku.ac.th)

 

7. อุปกรณ์สื่อการสอน

                ได้แก่ เอกสารประกอบคำบรรยาย แผ่นใส/เครื่องฉายข้ามศีรษะ วีดิทัศน์ คอมพิวเตอร์เพื่อการสืบค้นข้อมูลผ่านระบบอินเทอร์เน็ต และ M@xLearn (http://course.ku.ac.th)

 

8. การวัดผลสัมฤทธิ์ในการเรียน

                รวม  # 100% ประเมินจาก

8.1 ความสนใจในการเรียน (10%)

8.2 ผลการสอบข้อเขียน 1 ครั้ง (30%)

8.3 การนำเสนองาน/ รายงานที่ได้รับมอบหมายในหัวข้อต่างๆ (30%)

8.4 การอ่าน นำเสนอและอภิปรายเอกสารข้อมูลเชิงวิทยาศาสตร์ที่ใหม่ฯ (30%)

 

9. การประเมินผลการเรียน

กำหนดให้เกรดจากคะแนนรวมของการสอบและการประเมินงานค้นคว้าที่มอบหมายให้โดยใช้การอิงกลุ่ม หรืออิงเกณฑ์แล้วแต่ความเหมาะสม

                       ตัวอย่างเกณฑ์ที่ใช้ในการตัดเกรด...

                                ตั้งแต่  80  คะแนน ขึ้นไป      ดีเยี่ยม                     ได้เกรด   A             หรือ         4.0

                                65-79       คะแนน                  ดี                              ได้เกรด   B+           หรือ         3.5

                                60-64       คะแนน                  ค่อนข้างดี                ได้เกรด   B             หรือ         3.0

                                55-59       คะแนน                  พอใช้                      ได้เกรด   C+           หรือ         2.5

                                50-54       คะแนน                  ค่อนข้างพอใช้        ได้เกรด   C             หรือ         2.0

                                ต่ำกว่า 50 คะแนน                   ต้องปรับปรุงอีกมากได้เกรด   F              หรือ         0

 

10. การให้โอกาสนอกเวลาเรียนแก่นิสิตเข้าพบและให้คำแนะนำในด้านการเรียน

ติดต่อผู้สอนได้ที่ ห้องพักอาจารย์ชั่วคราว ชั้น 2 อาคารสโมสรคณะวิทยาศาสตร์ หรือผ่าน E-mail

1.       ผศ. วิน  เชยชมศรี                                E-mail: fsciwcc@ku.ac.th

2.       ผศ. ดร. จินดาวรรณ สิรันทวิเนติ     

โทรศัพท์: 0-2579-1022, 0-2942-8393 ต่อ 223            E-mail: fscijws@ku.ac.th

 

11. เอกสารอ่านประกอบ

Beebee, T. and G. Rowe.  An Introduction to Molecular Ecology.  Oxford University Press: Oxford, 2004.  (QH541.15.M63 B43.2004 หอสมุดกลาง)

Avise, J.C.  Molecular Markers, Natural History, and Evolution, 2nd ed.  Sinauer Associates: Massachusetts, 2004.  (QH438.4 B55 A95. 2004 หอสมุดกลาง)

Freeland, J.R.  Molecular Ecology. 

Techniques in Molecular Ecology: A Researchers Guide. http://www.soton.ac.uk/~kpa/molecol/

Journal: Molecular Ecology. Blackwell Publishing

 

12. ตารางกิจกรรมที่เกี่ยวข้องกับการเรียน

 

ตารางเรียนวิชา 424596  (Selected Topics in Biology: Molecular Ecology)

ภาคต้น ปีการศึกษา 2549

วันอังคาร และวันพฤหัสบดี 8.30 – 10.00 น. ห้องบรรยาย 1 อาคารสโมสรคณะวิทยาศาสตร์

 

สัปดาห์ที่/ วัน-เดือน-ปี

เนื้อหา (ส่วน/ หน่วยที่)

กิจกรรม

อาจารย์ผู้สอน

1

6 มิ.ย. 49

บทนำสู่นิเวศวิทยาโมเลกุล

(Introduction to Molecular Ecology)

 

นำเสนอ และกำหนดกิจกรรม การเรียนร่วมกัน บรรยาย

มอบหมายงาน A

ผศ.ดร. จินดาวรรณ

ผศ. วิน

 

 

8 มิ.ย. 49

2

13 มิ.ย. 49

- วันหยุดราชการ

-

-

15 มิ.ย. 49

Interactions of organisms with environment

บรรยาย

รศ. ดร. บุญเกื้อ

3

20 มิ.ย. 49

The use of molecular ecology-information affecting interactions of organisms with environment.

บรรยาย

มอบหมายงาน 1

รศ. ดร. บุญเกื้อ

 

22 มิ.ย. 49

วันไหว้ครู

 

 

4

27 มิ.ย. 49

The use of molecular ecology-information affecting interactions of organisms with environment. (งาน 1)

การนำเสนองาน 1อภิปราย

คณะผู้สอน

29 มิ.ย. 49

5

4 ก.ค. 49

Molecular techniques in ecological research

บรรยาย

มอบหมายงาน 2

ผศ.ดร. จินดาวรรณ

ผศ. วิน

 

6 ก.ค. 49

6

11 ก.ค. 49

วันเข้าพรรษา

-

-

13 ก.ค. 49

Molecular techniques in ecological research (งาน 2)

 

การนำเสนอ งาน2อภิปราย

คณะผู้สอน

7

18 ก.ค. 49

20 ก.ค. 49

 

 

 

 

 

 

 

 

สัปดาห์ที่/ วัน-เดือน-ปี

เนื้อหา (ส่วน/ หน่วยที่)

กิจกรรม

อาจารย์ผู้สอน

8

25 ก.ค. 49

Application of molecular methods in population ecology

บรรยาย

มอบหมายงาน 3

ผศ. วิน

ผศ.ดร. จินดาวรรณ

27 ก.ค. 49

วันพระราชทานปริญญาบัตร

 

 

9

-- 4ส..ค. 49

วันสอบกลางภาค

 

 

10

8 ส.ค. 49

Application of molecular methods in population ecology

(งาน 3)

การนำเสนอ งาน3อภิปราย

คณะผู้สอน

10 ส.ค. 49

11

15 ส.ค. 49

Analyse and understand behavioural ecology on the molecular level

บรรยาย

มอบหมายงาน 4

ผศ. วิน

ผศ.ดร. จินดาวรรณ

17 ส.ค. 49

12

22 ส.ค. 49

Analyse and understand behavioural ecology on the molecular level

(งาน 4)

การนำเสนอ งาน4อภิปราย

คณะผู้สอน

24 ส.ค. 49

13

29 ส.ค. 49

Use of molecular ecology in species conservation

บรรยาย

มอบหมายงาน 5

ผศ. วิน

ผศ.ดร. จินดาวรรณ

31ส.ค. 49

14

5 ก.ย. 49

Use of molecular ecology in species conservation

(งาน 5)

การนำเสนอ งาน5อภิปราย

คณะผู้สอน

7ก.ย. 49

15

12 ก.ย. 49

Reading and discussion of recent scientific literature in molecular ecology

การนำเสนอ งาน Aอภิปราย

คณะผู้สอน

14 ก.ย. 49

16

19 ก.ย. 49

21 ก.ย. 49

 

 

วันสอบปลายภาค

 

 

13.คณะผู้สอน

1)      รศ.ดร. บุญเกื้อ  วัชรเสถียร

2)      ผศ. ดร. จินดาวรรณ สิรันทวิเนติ

3)      ผศ. วิน  เชยชมศรี* (ผู้ประสานงานรายวิชา)

 

 

 

      ลงนาม....................………..............…….(ผู้รายงาน)

                                                                                                                (ผศ. วิน  เชยชมศรี)

                                                                                                             วันที่ 5 มิถุนายน 2549