บทนิยาม 1.15
ให r เป็นความสัมพันธ์ทวิภาคบนเซต A เรียก r ว่า ความสัมพันธ์สมมูลบน A
(equivalence relation on A )ถ้า r มีสมบัติดังนี้
1. (a,a) ฮ r สำหรับทุก a ฮ
A
(กฎการสะท้อน)
2. ถ้า (a,b) ฮ r แล้ว (b,a) ฮ
r
(กฎการสมมาตร)
3. ถ้า (a,b) ฮ r และ (b,c) ฮ
r
แล้ว (a,c) ฮ r (กฎการถ่ายทอด)
โดยทั่วไป นิยมเขียนแทนความสัมพันธ์สมมูล r ด้วย ~ และถ้า (a,b) ฮ
~
จะเขียนแทนด้วย a ~ b
บทนิยาม 1.16
ให้ ~ เป็นความสัมพันธ์สมมูลบน A ชั้นสมมูลของ a ฮ A
(equivalence class of a) เขียนแทนด้วย [a] คือ เซต {x ฮ
A | x~a} นั่นคือ [a] = {x ฮ A | x~a}
และจะใช้สัญลักษณ์ A/~ แทนเซตของชั้นสมมูลทั้งหมดของ ~ บน A
นั่นคือ A/~ = {[a] | a ฮ A}
คุณสมบัติของชั้นสมมูล
ให้ ~ เป็นความสมมูลบนเซต A จะได้ว่า
1. " a ฮ A, a
ฮ
[a] ดังนั้น [a] น ฦ
2. [a] = [b] ก็ต่อเมื่อ a ฮ [b] หรือ b ฮ
[a]
3. แต่ละ a ,b ฮ A จะได้ว่า [a] = [b] หรือ
[a] ว [b] = ฦ อย่างใดอย่างหนึ่ง
4. ศ[a] ฮ
A/~[a]
= A
บทนิยาม 1.17
ให้ X เป็นเซตไม่ว่าง และ I เป็นเซตดรรชนี
P = { Ai | Aiฬ X,
iฮ I } เรียกว่า ผลแบ่งกั้น (partition) ของ X
ถ้า
1. ศiฮIAi
= X
2. Ai ว Aj = ฦ
ถ้า
i น j
ทฤษฎีบท 1.18 ถ้า
~ เป็นความสัมพันธ์สมมูลใด ๆ บนเซตซึ่งไม่ว่าง X แล้ว เซตของชั้นสมมูลที่ต่างกันทั้งหมดเป็นผลแบ่งกั้นของ
X
ในทำนองกลับกัน
ถ้า P = {Ai | Ai ฬ X,i
ฮ
I} เป็นผลแบ่งกั้นของ X แล้ว สามารถนิยามความสัมพันธ์สมมูลบน X โดยที่แต่ละ
Ai เป็นชั้นสมมูลได้
โดยกำหนดความสัมพันธ์สมมูล
ดังนี้ a ~ b ก็ต่อเมื่อ a,bฮ Ai สำหรับบางค่า
iฮ I
บทนิยาม 1.19
จะเรียกความสัมพันธ์ r จากเซต A ไปเซต B ว่าฟังก์ชัน
ถ้า (x,y) ฮ r และ (x,z) ฮ
r แล้ว y = z นั่นคือ ฟังก์ชันคือความสัมพันธ์ที่ไม่มีสมาชิกในพิกัดที่หนึ่งซ้ำกัน
ให้ f เป็นความสัมพันธ์จากเซต A ไปเซต B ถ้า f เป็นฟังก์ชัน ซึ่ง Df
= A และ Rf ฬ B
จะเรียก f ว่าเป็นฟังก์ชันจาก A ไป B เขียนแทนด้วย f: A ฎ
B
บทนิยาม 1.20
กำหนด f เป็นฟังก์ชันจากเซต A ไปเซต B
1. f จะเป็นฟังก์ชันหนึ่งต่อหนึ่ง ก็ต่อเมื่อ f(x1)=f(x2)
แล้ว x1 = x2 ทุก x1,x2 ฮ
A
2. f จะเป็นฟังก์ชันไปบน (ไปทั่วถึง)เซต B ก็ต่อเมื่อ Rf =
B
บทนิยาม 1.21
ให้ f: A ฎ B และ g: B ฎ
C ฟังก์ชันประกอบของ f และ g (composite function of f and g) คือ ฟังก์ชัน
gof : A ฎ C กำหนดโดย
gof(a) = g(f(a)) สำหรับทุก a ฮ A
บทนิยาม 1.22 ฟังก์ชันเอกลักษณ์ (identity
function) บนเซต A เขียนแทนด้วย 1A คือ
ฟังก์ชัน 1A: A ฎ A ซึ่ง 1A(a)
= a สำหรับทุก a ฮ A
บทนิยาม 1.23 ฟังก์ชัน f: A ฎ B หาตัวผกผันได้ (invertible) ถ้ามีฟังก์ชัน g: B ฎ A ซึ่งgof = 1A และ fog = 1B เรียก g ว่าตัวผกผันของ f(inverse for f) และเขียนแทน g ด้วย f-1
ทฤษฏีบท 1.24 ฟังก์ชันใด ๆ มีตัวผกผันได้อย่างมากฟังก์ชันเดียว
ทฤษฏีบท 1.25 ฟังก์ชัน f: A ฎ B หาตัวผกผันได้ ก็ต่อเมื่อ f เป็นฟังก์ชันหนึ่งต่อหนึ่งแบบทั่วถึง
บทนิยาม 1.26 ให้ n เป็นจำนวนเต็มบวก a,b
ฮ
Z
จะกล่าวว่า a สมภาคกับ b มอดุโล n
(a congruence b modulo n)เขียนแทนด้วย a บ
b (mod n) ก็ต่อเมื่อ n|(a-b)
เรียก n ว่ามอดุลัส (modulus)
ทฤษฏีบท 1.27
1.สมภาค บ (mod n)เป็นความสัมพันธ์สมมูลบน
Z และมีชั้นสมมูลที่แตกต่างกันทั้งหมด n ชั้น
2. ถ้า a บ b (mod n) และ c บ
d
(mod n) แล้ว a+c บ b+d (mod n)
และ ac บ bd (mod n)
3. ถ้า ab บ ac (mod n) และ gcd(a,n) = 1
แล้ว b บ c (mod n)
บทนิยาม 1.30 ให้ [a] ฮ Zn ถ้ามี [b] ฮ Zn-{[0]} ที่ทำให้ [a][b] = [0] แล้วจะเรียก [a] ว่าตัวหารของ 0 (divisor of zero)
บทนิยาม 1.31 ให้ [a] ฮ
Zn
ถ้ามี
[b] ฮ Zn ที่ทำให้ [a][b] = [1] แล้วจะเรียก
[b]ว่าตัวผกผันการคูณ (multiplicative inverse) ของ [a] และจะกล่าวว่า [a]
และ [b]
เป็นสมาชิกที่หาตัวผกผันได้ (invertible) ของ Zn
ทฤษฏีบท 1.32 ให้ n ฮ
Z+
1. [a] มีตัวผกผันการคูณใน Zn ก็ต่อเมื่อ gcd(a,n) = 1
2. ทุก [a] ฮ Znมีตัวผกผันการคูณ
หรือ เป็นตัวหารของ 0
บทนิยาม 1.32 การดำเนินการทวิภาค (binary
operation) บนเซต A ซึ่งไม่ใช่เซตว่าง หมายถึงฟังก์ชันจาก AxA ไปยัง A นั่นคือถ้า
@ เป็นการดำเนินการทวิภาคดังนั้น
@ : AxA ฎ A และนิยมใช้สัญลักษณ์ a@b แทน
@(a,b) ซึ่งเป็นค่าพิสัยของ (a,b)
ตัวอย่าง 1. บวก(+) และ คูณ (.)
เป็นการดำเนินการทวิภาคบนจำนวนจริง R
2. บวก(+) และ คูณ (.) ใน
ทฤษีบท1.29 เป็นการดำเนินการทวิภาคบน Zn
บทนิยาม 1.33 ให้
@เป็นการดำเนินการทวิภาคบนเซต A ซึ่งไม่ใช่เซตว่าง
B ฬ A มีสมบัติปิดภายใต้ @ ก็ต่อเมื่อ a@b
ฮ
B
ทุก a,b ฮ B
บทนิยาม 1.34 ให้
@เป็นการดำเนินการทวิภาคบนเซต A ซึ่งไม่ใช่เซตว่างจะกล่าวว่า
@ มีสมบัติเปลี่ยนหมู่ (associative) ก็ต่อเมื่อ (a@b)@c = a@(b@c) ทุก
a,b,c ฮ A
@ มีสมบัติสลับที่ (commutative) ก็ต่อเมื่อ a@b = b@a ทุก a,b ฮ
A
บทนิยาม 1.35 ให้
S เป็นเซตซึ่งไม่ใช่เซตว่าง @เป็นการดำเนินการทวิภาคบน S
จะกล่าวว่า (S,@) เป็นกึ่งกลุ่ม (semigroups) ถ้า @ มีสมบัติเปลี่ยนหมู่บน
S