การพัฒนารายวิชาและการปรับปรุงหลักสูตร
» แผนภูมิขั้นตอนการดำเนินงานขออนุมัติหลักสูตรใหม่/ปรับปรุง และโครงการพิเศษ (Click)
ที่มา : กองบริหารการศึกษา มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์

» คู่มือการเสนอหลักสูตร/รายวิชา ฉบับปรับปรุง 2551 (Click)
ที่มา : กองบริหารการศึกษา มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
» ตัวอย่างคู่มือการพัฒนาและปรับปรุงหลักสูตร (Click)
ที่มา : สำนักส่งเสริมวิชาการและงานทะเบียน มหาวิทยาลัยราชภัฏสงขลา
» ตัวอย่างกรอบมาตรฐานคุณวุฒิระดับอุดมศึกษาแห่งชาติ :
หลักสูตรวิทยาศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาฟิสิกส์ (มคอ.2 ภาควิชาฟิสิกส์) (Click)
|
|
เทคนิคการตัดเกรด
» การตัดเกรดปัจจุบันมีหลากหลายวิธีโดยทั่วไปจะมี 3 วิธีหลักๆ คือ
(1) การตัดเกรดแบบอิงกลุ่ม การตัดเกรดแบบอิงกลุ่ม เป็นการให้เกรดโดยพิจารณาจากความสามารถของกลุ่ม หรือพิจารณาจากค่ากลางของกลุ่ม ถ้าข้อสอบง่ายหรือกลุ่มมีความสามารถสูงแล้ว ค่ากลางก็สูง ช่วงคะแนนของแต่ละเกรดก็สูงตามไปด้วย เกรดก็จะสูงตามไปด้วย ในขณะเดียวกัน ถ้าค่ากลางของกลุ่มต่ำ ค่ากลางก็ต่ำ ช่วงคะแนนของแต่ละเกรดก็จะต่ำตามไปด้วย การตัดเกรดแบบอิงกลุ่มจึงยืดหยุ่นตามระดับความสามารถของกลุ่มเช่น ค่ากลางอยู่ที่ 60% A อาจจะตัดที่ 81% ขึ้นไปค่ากลางอยู่ที่ 50% A อาจจะตัดที่ 75% หรือต่ำกว่านี้ก็ได้
(2) การตัดเกรดแบบอิงเกณฑ์ การตัดเกรดแบบอิงเกณฑ์ เป็นการให้เกรดโดยเทียบจากเกณฑ์ (criteria) เป็นหลัก ผู้สอบทำคะแนนถึง เกณฑ์ใดก็จะได้เกรดตามเกณฑ์นั้น เช่น ถ้ากำหนดเกณฑ์ว่า เกรด A จะต้องได้คะแนน 80% ขึ้นไป ผู้ที่สอบได้ คะแนน 80% หรือสูงกว่าจะได้เกรด A ถ้าได้คะแนน 79% หรือต่ำกว่าลงมา ก็จะได้เกรดต่ำกว่า A ไม่ว่าข้อสอบ นั้นจะยากหรือง่าย การให้เกรดจะเป็นไปตามเกณฑ์ที่กำหนด ไม่มีการยืดหยุ่นตามระดับความสามารถของกลุ่ม
(3) การตัดเกรดแบบอิงกลุ่มและอิงเกณฑ์ คือการใช้วิธีผสมผสานของทั้งสองแบบทำให้มีความยืดหยุ่นมากกว่า
ดูรายละเอียดเพิ่มเติมได้ที่ (Click)
ที่มา : ผศ.ดร.กรองได อุณหสูต ภาควิชาการพยาบาลศัลยศาสตร์ ม.มหิดล
» การตัดเกรดแบบอิงกลุ่มโดยวิธี Normalized T-Score ด้วย Microsoft Excel โดย อาจารย์ยุวดี หิรัญ (Click)
|
|
ตัวอย่างเนื้อหาการเรียนการสอนวิชาฟิสิกส์ และวิชาที่เกี่ยวข้อง
» วิชาฟิสิกส์ทั่วไป (General Physics) I และ II และวิชาฟิสิกส์ยุคใหม่ (Modern Physics) (Click)
โดย ผศ.ดร.นพฤทธิ์ จินันทุยา (Youtube)
» วิชา Instrumentation Workshop III : หลักการเขียนแบบด้วยโปรแกรม UG (วิทยา สงวนวรรณ) (Click)
โดย นายภัทรพงษ์ นิภากุล (Slide)
|
|
|
|
|
ขอต้อนรับสู่ระบบศูนย์จัดการความรู้
ภาควิชาฟิสิกส์ คณะวิทยาศาสตร์
มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
|
|
Web Link


|
|
สามารถแสดงข้อคิดเห็นได้ที่

|
|
By KM's staff, Department of Physics
Faculty of Science, KU
|
|
|
|