สถิติทางชีววิทยา์


แผนการสอน  
Course Syllabus
ภาคต้น  ปีการศึกษา 2551

1. คณะ คณะศิลปศาสตร์และวิทยาศาสตร์      สายวิชาคณิตศาสตร์ สถิติและคอมพิวเตอร์
    สาขาวิชา  สถิติ 
2.  รหัสวิชา 734415                              ชื่อวิชา (ไทย) สถิติทางชีววิทยา
จำนวน 3 หน่วยกิต                                                         (อังกฤษ)  Statistics in Biological Sciences
วิชาพื้นฐาน  734111

3. เนื้อหารายวิชา (Course Description)
การวิเคราะห์ความแปรปรวนในแผนการทดลองแบบพื้นฐาน การทดลองแบบแฟกทอเรียล การถดถอยเชิงเส้นแบบง่ายและสหสัมพันธ์ การถดถอยแบบพหุ การถดถอยแบบไม่เชิงเส้น การวิเคราะห์ความแปรปรวนร่วม สถิติที่ไม่ใช้พารามิเตอร์สำหรับข้อมูลทางชีววิทยา

4. วัตถุประสงค์ของวิชา
4.1 วิเคราะห์ความแปรวปรวนในแผนการทดลองแบบพื้นฐานได้
4.2 วิเคราะห์ความแปรปรวนในการทดลองแบบแฟกเทอเรียลได้
4.3 วิเคราะห์การถดถอยเชิงเส้นแบบง่ายและคำนวณสหสัมพันธ์ได้
4.4 วิเคราะห์การถดถอยเชิงเส้นแบบพหุได้
4.5 วิเคราะห์การถดถอยแบบไม่เชิงเส้นได้
4.6 วิเคราะห์ความแปรปรวนร่วมได้
4.7 ใช้สถิติไม่อิงพารามิเตอร์ในการทดสอบสมมติฐานได้

5. หัวข้อรายวิชา
           

 

 

จำนวนชั่วโมง

5.1

การวิเคราะห์ความแปรปรวนในแผนการทดลองพื้นฐาน

15

 

- แผนการทดลองแบบสุ่มตลอด

 

 

- แผนการทดลองแบบสุ่มภายในบล็อก

 

 

- แผนการทดลองแบบลาตินสแควร์

 

 

- การทดลองแบบสุ่มซ้อน

 

5.2

การทดลองแบบแฟกทอเรียล

 

 

- การทดลองที่มี 2 ตัวประกอบ

 

 

- การทดลองที่มี 3 ตัวประกอบ

 

 

- ค่าคาดหมายของกำลังสองเฉลี่ย

 

5.3

การถดถอยเชิงเส้นอย่างง่ายและสหพันธ์

6

 

- สมการถดถอยเชิงเส้นอย่างง่าย

 

 

- การประมาณช่วงความเชื่อมั่นและการทดสอบค่าพารามิเตอร์

 

 

- การวิเคราะห์ความแปรปรวนในการวิเคราะห์การถดถอยอย่างง่าย

 

 

- สหสัมพันธ์อย่างง่าย

 

5.4

การถดถอยแบบพหุ

6

 

- สมการถดถอยแบบพหุ

 

 

- การประมาณช่วงความเชื่อมั่นและทดสอบค่าพารามิเตอร์

 

 

- การวิเคราะห์ความแปรปรวนในการวิเคราะห์การถดถอยแบบพหุ

 

 

- สหสัมพันธ์เชิงส่วนและสหสัมพันธ์เชิงซ้อน

 

5.5

การถดถอยแบบไม่เชิงเส้น

3

 

- เส้นโค้งออการิทึมและเส้นโค้งเอกซ์โพเนนเซียล

 

 

- เส้นโค้งพาราโบลา

 

5.6

การวิเคราะห์ความแปรปรวนร่วม

3

 

- ตัวแบบและข้อสมมติในการวิเคราะห์ความแปรปรวน

 

 

- การทดสอบค่าเฉลี่ยของทรีตเมนต์ที่ปรับแล้ว

 

5.7

สถิตินอนพาราเมตริก

 

 

- การทดสอบโดยใช้เครื่องหมาย

6

 

- การทดสอบโดยใช้อันดับและเครื่องหมาย

 

 

- การทดสอบโดยผลรวมของอันดับ

 

 

- การทดสอบของครัสคัลและวอลลิส

 

 

- การทดสอบของฟรีดแมน

 

 

- สหสัมพันธ์อันดับ

 

6. วิธีการสอน
6.1 ใช้วิธีบรรยาย
6.2 ให้นิสิตศึกษาค้นคว้าด้วยตนเอง โดยการทำรายงาน
7. อุปกรณ์สื่อการสอน

7.1 เอกสารประกอบการสอน
7.2 ตำรา

8. การวัดผลสัมฤทธิ์ในการเรียน
               

 

 

จำนวนเปอร์เซนต์

8.1

การศึกษาค้นคว้า

5

8.2

ความสนใจเข้าเรียนอย่างสม่ำเสมอ

5

8.3

การสอบ

 

 

- การสอบกลางภาค

45

 

- การสอบปลายภาค

45

9. การประเมินผลการเรียน
วิธีการตัดเกรดเป็นแบบอิงเกณฑ์ คือ

คะแนน

เกรด

76-100

A

71-75

B+

66-70

B

61-65

C+

56-60

C

51-55

D+

46-50

D

<=45

F

 

10. การให้โอกาสนอกเวลาเรียนแก่นิสิตเข้าพบ
                ตามตาราง Office Hour ที่ติดอยู่หน้าห้องพัก  โทรศัพท์  034-281105-6 ต่อ 448
E-Mail  faasatp@ku.ac.th

11. เอกสารอ่านประกอบ
11.1 เอกสารประกอบการสอน
11.2 ตำรา
จรัญ   จันทลักขณา.  2534.  สถิติวิธีวิเคราะห์และวางแผนงานวิจัย.  ไทยวัฒนาพานิช. กรุงเทพฯ
อัจฉริยา  ปราบอริพ่าย. 2543 สถิติทางชีววิทยา. คณะศิลปะศาสตร์และวิทยาศาสตร์      มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตกำแพงแสน. นครปฐม. 163 หน้า.
อัจฉริยา  ปราบอริพ่าย. 2543 เทคนิคการวิเคราะห์สถิติโดยใช้โปรแกรม SPSS: ทฤษฎีและภาคปฏิบัติ. สำนักพิมพ์มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์. กรุงเทพฯ. 342 หน้า.

อนันต์ชัย  เขื่อนธรรม.  2539. หลักการวางแผนการทดลอง.  ภาควิชาสถิติ คณะวิทยาศาสตร์  มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์.  กรุงเทพฯ.

รศ.ดร.อำนวย  เลิศชยันตี, สถิตินอนพาราเมตริก, กรุงเทพมหานคร,โรงพิมพ์ศิลปะสนองการพิมพ์, 2539.
Coehran,  W.G. and G.M. Cox. 1957.  Experimental Designs,  2rd ed., 
John Wiley & Sons,  Inc.,  Singapore.
Daniel,  W.W.  1995.  Biostatistics : A Foundation for Analysis in the Health  Sciences, 6thed.,  John Wiley & Sons.  Inc.,  Singapore.
Glover T. and Mitchell K. 2004. An Introduction to Biostatistics. MeGraw Hill, Singapore. 416p.
Hicks,  C.R. 1982.  Fundamental Concepts in the Design of Experiments, 3rd ed.,  CBS College Publishing,  Japan.
Norman G.R. and Streiner D.L. 1944. Biostatistics: The Bare Essentials. Mosby-Year Book, Inc., Missouri. 260p.
Kuehl,  R.O.  1994.  Statistical Principles of Research Design and Analysis,  Wadsworth,  Inc.,  California.
Montgomery,  D.C.  1997.  Design and Analysis of Experiments,  4th ed., John wiley & Sons,  Inc.,  New’York.
Wayne W.Daniel, Biostatistics : a Foundation for analysis in the health Sciences, 6th ed, John Wiley&sons, 1995.

12. ตารางกิจกรรมที่เกี่ยวข้องกับการเรียน ประจำภาคต้น ปีการศึกษา 2551


สัปดาห์

วัน/เดือน/ปี

เนื้อหา

กิจกรรม

หมายเหตุ

1-3

 

การวิเคราะห์ความแปรปรวน

1.การบรรยายประกอบเอกสารประกอบการสอน
2.ให้ผู้เรียนค้นคว้างานวิจัยที่ใช้การวิเคราะห์ต่าง ๆ เพื่อจะได้เข้าใจการนำไปใช้แล้วทำรายงานส่ง
3.ซักถาม ตอบคำถามจากการค้นคว้างานวิจัยที่ใช้การวิเคราะห์ต่าง ๆ

 

4-5

 

การทดลองแฟกทอเรียล

 

6-7

 

การถดถอยเชิงเส้นแบบง่ายและสหสัมพันธ์

 

8

 

สอบกลางภาค

 

9-10

 

การถดถอยแบบไม่เชิงเส้น

 

12-13

 

การวิเคราะห์ความแปรปรวนร่วม

 

14-15

 

สถิติไม่อิงพารามิเตอร์

 

16

 

การสอบปลายภาค

 

12 .การทบทวนเพื่อปรับปรุงวิธีการสอนและระบบการสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นศูนย์กลาง
? ไม่มีการทบทวน
? มีการทบทวน โดย         ?  ไม่มีการปรับปรุง
? แก้ไขปรับปรุงดังนี้
ปรับกิจกรรมการเรียนการสอน
13. การปรับปรุงการสอนจากผลการประเมินผลการสอน
? ไม่มีการประเมินผลการสอน 
? มีการประเมินผลการสอน            ? ไม่แก้ไขปรับปรุง          ? แก้ไขปรับปรุงดังนี้
ซักถามในชั้นเรียนและอธิบายเพิ่มเติม  

14. ผู้สอน/คณะผู้สอน         รศ.อัจฉริยา  ปราบอริพ่าย

รายงาน ณ วันที่  30  พฤษภาคม  2551

ลงชื่อ.......................................................
(รศ.อัจฉริยา    ปราบอริพ่าย)
ผู้จัดการรายวิชา 734415

 

 

 


  
 
 บทที่ 7