กล่าวนำ
คอมพิวเตอร์เข้ามามีบทบาทในทางวิศวกรรมโครงสร้างตั้งแต่มีการคิดค้นระเบียบวิธี Finite Element ขึ้นมา จากความก้าวหน้าทางเทคโนโลยี ทำให้การใช้งานคอมพิวเตอร์ในทางวิศวกรรมมีความสะดวกสบายมากขึ้น จนกระทั่งสามารถบรรจุเป็นส่วนหนึ่งของหลักสูตรบัณฑิตศึกษาทางวิศวกรรมโยธา ในรายวิชา 01203421 การประยุกต์คอมพิวเตอร์ในงานวิศวกรรมโครงสร้าง และ หลักสูตรบัณฑิตศึกษาสถาปัตยกรรมศาสตร์ ในวิชา 01247323 คอมพิวเตอร์ช่วยออกแบบทางวิศวกรรมและแบบจำลองสารสนเทศทางอาคาร การใช้งานคอมพิวเตอร์ช่วยเพิ่มขีดความสามารถให้ผู้เรียนสามารถมีความพร้อมด้านการปฏิบัติวิชาชีพ และ ลดข้อจำกัดทางทฤษฎี
อย่างไรก็ตามเพื่อให้ผู้เรียนสามารถทำความเข้าใจอย่างเป็นลำดับขั้นตอน ผู้เขียนได้ทำการรวบรวมปฏิบัติการที่เกี่ยวข้องกับการใช้งานคอมพิวเตอร์ในการสร้างแบบจำลองโครงสร้างและการออกแบบ โดยเรียบเรียงลำดับตั้งแต่พื้นฐานการคำนวณ และ การสร้างแบบจำลองโครงสร้างพื้นฐานไปจนถึงระดับสูง ซึ่งในเอกสารประกอบการสอนฉบับนี้ยังได้รวมถึงการใช้ระเบียบวิธี Topology Optimization และกระบวนการ Generative Design ซึ่งเป็นแนวทางการออกแบบทฤษฎีใหม่ ซึ่งสามารถช่วยให้ผู้ออกแบบมีเครื่องมือที่ทรงประสิทธิภาพ และ ทันสมัย และ สรุปกระบวนการออกแบบโครงสร้าง โดยแบ่งเป็น โครงสร้างไม้ โครงสร้างเหล็ก และ โครงสร้างคอนกรีตเสริมเหล็ก ซึ่งถือว่าเป็นเนื้อหาที่มีความจำเป็นสำหรับ วิศวกรโครงสร้าง และ สถาปนิก เพื่อให้สามารถออกแบบโครงสร้างได้อย่างมีประสิทธิภาพ และ มุ่งสู่ความเป็นวิศวกรรมซึ่งเป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อมต่อไป
ปฏิบัติการที่ 1 การสร้างแบบจำลองโครงข้อแข็งเกร็ง 2 มิติ ปฏิบัติการที่ 2 การประมาณขนาดของโครงสร้างและความสำคัญในการวิเคราะห์โครงสร้าง ปฏิบัติการที่ 3 การสร้างแบบจำลองโครงข้อหมุนแบบ 2 มิติ ปฏิบัติการที่ 4 การสร้างแบบจำลองโครงข้อแข็งในระบบพิกัด 3 มิติ ปฏิบัติการที่ 5 การสร้างแบบจำลองโครงข้อหมุนในระบบพิกัด 3 มิติ ปฏิบัติการที่ 6 แบบจำลอง Finite Element ปฏิบัติการที่ 7 พลศาสตร์ของโครงสร้าง (Structural Dynamic) ปฏิบัติการที่ 8 พลศาสตร์ของโครงสร้างตามมาตรฐาน มยผ. 1301/1302-61 ปฏิบัติการที่ 9 แบบจำลองโครงสร้างเชิงพารามิเตอร์โดย Dynamo Studio ปฏิบัติการที่ 10 การวิเคราะห์ค่าเหมาะที่สุดของโครงสร้าง ปฏิบัติการที่ 11 กระบวนการ Topology Optimization ปฏิบัติการที่ 12 กระบวนการ Generative Design ปฏิบัติการที่ 13 การออกแบบโครงสร้างไม้ ปฏิบัติการที่ 14 การออกแบบโครงสร้างเหล็ก ปฏิบัติการที่ 15 การออกแบบโครงสร้างคอนกรีตเสริมเหล็ก
ปฏิบัติการที่ 1 การสร้างแบบจำลองโครงข้อแข็งเกร็ง 2 มิติ PDF [Workshop 1]
โปรแกรมที่ใช้ Autodesk Robot Structural Analysis 2020
ปฏิบัติการที่ 2 การประมาณขนาดของโครงสร้างและความสำคัญในการวิเคราะห์โครงสร้าง PDF [Workshop 2]
โปรแกรมที่ใช้ Autodesk Robot Structural Analysis 2020
ปฏิบัติการที่ 3 การสร้างแบบจำลองโครงข้อหมุนแบบ 2 มิติ PDF [Workshop 3]
โปรแกรมที่ใช้ Autodesk Robot Structural Analysis 2020
ปฏิบัติการที่ 4 การสร้างแบบจำลองโครงข้อแข็งในระบบพิกัด 3 มิติ PDF [Workshop4]
โปรแกรมที่ใช้ Autodesk Robot Structural Analysis 2020
ปฏิบัติการที่ 5 การสร้างแบบจำลองโครงข้อหมุนในระบบพิกัด 3 มิติ PDF [Workshop5]
โปรแกรมที่ใช้ Autodesk Robot Structural Analysis 2020
ปฏิบัติการที่ 6 แบบจำลอง Finite Element PDF [Workshop 6.1 2D] [Workshop 6.2 3D]
6.1 แบบจำลอง Finite Element ของ ในระนาบ 2 มิติ
โปรแกรมที่ใช้ Autodesk Robot Structural Analysis 2020
6.2 แบบจำลอง Finite Element ของ ในระนาบ 3 มิติ
โปรแกรมที่ใช้ Autodesk Fusion 360
ปฏิบัติการที่ 7 พลศาสตร์ของโครงสร้าง (Structural Dynamic) PDF [Workshop 7]
โปรแกรมที่ใช้ Autodesk Robot Structural Analysis 2020
ปฏิบัติการที่ 8 พลศาสตร์ของโครงสร้างตามมาตรฐาน มยผ PDF [Workshop 8]
โปรแกรมที่ใช้ Autodesk Robot Structural Analysis 2020, Microsoft Excel
ปฏิบัติการที่ 9 แบบจำลองโครงสร้างเชิงพารามิเตอร์โดย Dynamo Studio PDF [Workshop 9]
โปรแกรมที่ใช้ Autodesk Dynamo Studio
ปฏิบัติการที่ 10 การวิเคราะห์ค่าเหมาะที่สุดของโครงสร้าง PDF [Workshop 10]
โปรแกรมที่ใช้ Autodesk Robot Structural Analysis 2020, Microsoft Excel
ปฏิบัติการที่ 11 กระบวนการ Topology Optimization PDF [Workshop 11]
โปรแกรมที่ใช้ Autodesk Fusion 360
ปฏิบัติการที่ 12 กระบวนการ Generative Design PDF [Workshop 12]
โปรแกรมที่ใช้ Autodesk Fusion 360
ปฏิบัติการที่ 13 การออกแบบโครงสร้างไม้ PDF [Workshop 13]
โปรแกรมที่ใช้ Autodesk Robot Structural Analysis 2020
ปฏิบัติการที่ 14 การออกแบบโครงสร้างเหล็ก PDF [Workshop 14]
โปรแกรมที่ใช้ Autodesk Robot Structural Analysis 2020
ปฏิบัติการที่ 15 การออกแบบโครงสร้างคอนกรีตเสริมเหล็ก PDF [Workshop 15]
โปรแกรมที่ใช้ Autodesk Robot Structural Analysis 2020
Creative Commons Attribution-NonCommercial-ShareAlike 4.0 International Public License อ้างอิง https://creativecommons.org/licenses/by-nc-sa/4.0/
- Attribution — You must give appropriate credit, provide a link to the license, and indicate if changes were made. You may do so in any reasonable manner, but not in any way that suggests the licensor endorses you or your use.
- NonCommercial — You may not use the material for commercial purposes.
- ShareAlike — If you remix, transform, or build upon the material, you must distribute your contributions under the same license as the original.
- No additional restrictions — You may not apply legal terms or technological measures that legally restrict others from doing anything the license permits.